ลีนุกซ์ (Linux) และวินโดว์ส (Windows) ต่างเป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางทั้งระดับผู้ใช้ทั่วไป จนถึงระดับองค์กรขนาดใหญ่ทั่วโลก ทว่าประสิทธิภาพของระบบทั้งสองนี้ กลับรับรู้กันอย่างคลุมเครือหรือไม่ก็เพียงเฉพาะระบบใดระบบหนึ่งเท่านั้น ซึ่งเป็นการลำบากอย่างยิ่งสำหรับผู้กำลังตัดสินใจที่จะใช้ระบบใดระบบหนึ่ง บนเครื่องของตน
ข้อเปรียบเทียบต่อไปนี้รวบรวมขึ้น เพื่อนำเสนอข้อแตกต่างของระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทั้งสอระบบ ข้อเปรียบเทียบระหว่างระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ (Linux) และ วินโดว์ส ( Microsoft Windows )
ลีนุกซ์(Linux)และวินโดว์ส(Windows) ต่างเป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล(PC)ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางทั้งระดับผู้ใช้ทั่วไป จนถึงระดับองค์กรขนาดใหญ่ทั่วโลก ทว่าประสิทธิภาพของระบบทั้งสองนี้ กลับรับรู้กันอย่างคลุมเครือหรือไม่ก็เพียงเฉพาะระบบใดระบบหนึ่งเท่านั้น ซึ่งเป็นการลำบากอย่างยิ่งสำหรับผู้กำลังตัดสินใจที่จะใช้ระบบใดระบบหนึ่งบนเครื่องของตน ข้อเปรียบเทียบต่อไปนี้รวบรวมขึ้นเพื่อนำเสนอข้อแตกต่างของระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทั้งสองระบบ
จากข้อแตกต่างด้านราคาและประสิทธิภาพ ทำให้องค์ทั้งภาครัฐและเอกชนหันมาสนใจที่จะใช้ Linux เป็น "ระบบปฏิบัติการหลัก" ในองค์กรของตนมากขึ้น สังเกตจากระดับความนิยมลีนุกซ์ตามแผนภูมิด้านล่าง
เห็นได้ว่าระบบ Windows ของMicrosoft นั้นครองตลาดมากที่สุดในปัจจุบัน ส่วนLinux กำลังไล่ขึ้นมาติดๆโดนเฉพาะในภูมิภาคโลกที่สาม สีน้ำเงิน หมายถึง ไมโครซอร์ฟ
สีแดง หมายถึง แมคอินทอช สีเหลือง หมายถึง ลีนุกซ์
อย่างไรก็ตามสิ่งที่สำคัญที่สุดคือตัวผู้ใช้นั้นต้องเลือกระบบที่เหมาะสมกับตนที่สุดนั่นเอง
สรุป ข้อแตกต่างของระบบ Windows กับระบบ Linux
สำหรับโหมดไฟล์ของระบบ Windows กับระบบ Linux นั้นมีลักษณะที่แตกต่างกัน ส่วนมากระบบ Windows สามารถใช้งานได้ปกติไม่ค่อยได้ยุ่งเกี่ยวกับโหมดไฟล์เท่าไหร่ ระบบโหมดไฟล์จะเกี่ยวกับท่านที่ใช้ Hosting เป็นระบบ Linux เป็นส่วนใหญ่ที่จะต้องเรียนรู้การเปลี่ยนโหมดไฟล์ (Change Mode) การเปลี่ยนโหมดไฟล์นั้นจะเกี่ยวกับการเก็บค่าคอนฟิกระบบตอนติดตั้ง โดยที่ระบบ CMS แต่ละตัวจะมีการเปลี่ยนโหมดไฟล์ที่ไม่เหมือนกัน อาทิเช่น ระบบ PHPNuke จะเปลี่ยนไฟล์ config.php และ config-old.php เป็น 666 เป็นต้น การที่เราจะเปลี่ยนที่ไฟล์ไหนนั้นปกติระบบ cms ที่เราใช้จะแนะนำให้อยู่แล้ว เราสามาถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ในไฟล์ readme.txt หรือในไดเร็กทอรี doc ของตัวติดตั้งนั้นๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น